กัญชา
หางกระรอกภูพาน

หางกระรอกภูพาน กัญชาหางกระรอกไทย

หางกระรอกภูพาน

กัญชาพันธุ์หางกระรอก กัญชาสายพันธุ์ไทย หรืออีกชื่อที่เป็นที่รู้จักคือ ไทยสติ๊ก(Thai Stick) สายพันธุ์กัญชาที่ขึ้นชื่อว่าเป็นหนึ่งในสายพันธุ์ที่ดีที่สุดในโลก “หางกระรอกภูพาน” เป็นสายพันธุ์กัญชาไทยที่มีชื่อเสียงและเป็นที่รู้จักกันดี หางกระรอกภูพาน ตัวเมีย ซึ่งในคัมภีร์ตัวยาได้ระบุไว้ชัดเจนว่าถ้าจะนำกัญชามาทำยารักษามะเร็งต้องเป็น “พันธุ์หางกระรอกภูพาน” มีการปลูกที่เทือกเขาภูพาน จังหวัดสกลนคร 

ด้านหนองหานหลวงเป็นด้านทิศตะวันออก หางกระรอกภูพาน ไม่ใช่ฝั่งกาฬสินธุ์ กัญชาพันธุ์หางกระรอกไทย คือด้านรับแดดเช้า ไม่ใช่กัญชารับแดดเย็นและจะให้ดีที่สุดต้องเป็นกัญชาที่มี 7 ใบ เรียกว่า “ใบเพสลาด” ซึ่งถือเป็นยา หางกระรอกภูพาน ลักษณะ ทั้งนี้ต้นกัญชาที่มี 7 ใบ จะมีอยู่ในบางพื้นที่เท่านั้นที่ติดภูพาน ซึ่งมี 3 อำเภอ

สรรพคุณทางการแพทย์ หางกระรอกภูพาน

การใช้กัญชาแห้งมาทำเป็นยา หางกระรอกภูพาน  เช่นพวกที่กำลังทำยากัญชาใต้ดินทั้งหลาย แท้จริงแล้วกัญชาแห้งเป็นกัญชาสูบ หางกระรอกภูพาน thc ในตำรับยาไทย 10 กว่าตำรับจะใช้ “กัญชาสด” ในการทำยา นี่คือเหตุผลว่าทำไมประเทศต่างๆ เช่น อิสราเอลเอากัญชาจากไทยไป 40 ปี อังกฤษเอาไป 20 กว่าปี สเปนเอาไป 20 ปี เมล็ดกัญชาหางกระรอกภูพาน ทุกแห่งนำไปรักษามะเร็งไม่ได้ บอกแต่ว่าใช้เพื่อวิจัยเพราะว่าไม่ใช่กัญชาสดแต่เป็นกัญชาแห้ง

  • ช่วยให้นอนหลับง่าย ดอกหางกระรอก หลับลึก และ ตื่นด้วยความสดชื่น
  • ใช้ในปริมาณที่เหมาะสม จะช่วยผ่อนคลาย และ มีความสุข สนุกสนาน
  • ลดน้ำตาลในเลือด ลดความดัน รวมถึงความดันในลูกตาของผู้ที่เป็นต้อหิน
  • บรรเทาอาการปวด
  • ช่วยให้อยากอาหาร
  • มีสารต้านมะเร็ง ที่สามารถใช้ร่วมกับการรักษาอื่นๆได้

กัญชาเป็นยารักษาโรค/ภาวะอาการที่สามารถใช้ยากัญชาได้

หางกระรอกภูพาน

6 โรค/ภาวะอาการ หางกระรอกภูพาน สรรพคุณ ที่สารกัญชาได้ประโยชน์ในการรักษา หางกระรอกภูพาน  โดยมีข้อมูลวิชาการสบับสนุนชัดเจน กัญชาไทย ภาวะคลื่นไส้อาเจียนในผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีบำบัด

  • โรคลมชักที่รักษายาก หางกระรอก และโรคลมชักที่ดื้อต่อยารักษา
  • ภาวะกล้ามเนื้อหดเกร็ง ในผู้ป่วยปลอกประสาทเสื่อมแข็ง
  • ภาวะเบื่ออาหารในผู้ป่วย AIDS ที่มีน้ำหนักน้อย
  • การเพิ่มคุณภาพชีวิตผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคอง หรือผู้ป่วยระยะสุดท้ายของชีวิต

4 กลุ่มโรค / ภาวะ ที่น่าจะได้รับประโยชน์จากสารกัญชา แต่ยังต้องการงานวิจัยสนับสนุนเพิ่มเติม

  • โรคพาร์กินสัน
  • โรคอัลไซเมอร์
  • โรคปลอกประสาทอักเสบอื่น ๆ (ที่ไม่ใช่ปลอกประสาทเสื่อมแข็ง)
  • โรคอื่น ๆ ที่มีข้อมูลสนับสนุนทางวิชาการว่าน่าจะได้ประโยชน์

คนที่ไม่สามารถใช้ยากัญชาได้

  • กำลังตั้งครรภ์ หรือให้นมบุตร
  • มีความเสี่ยงสูงในการทำร้ายตนเอง
  • โรคซึมเศร้า โรคอารมณ์สองขั้ว โรคจิตจากสารเสพติด โรคจิตเภท
  • รับประทานยาต้านการแข็งตัวของเลือด
  • โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคตับ โรคไต ที่มีอาการรุนแรง
  • มีประวัติแพ้สารสกัดกัญชา
อาการเมากัญชา

แหล่งข้อมูลภายนอก